บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2018

บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด-แนวใหม่ D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

รูปภาพ
บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด-แนวใหม่ ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ (Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น) ส่วน       ประสมการตลาด ประกอบด้วย 1.               การโฆษณา ( Advertising ) 2.               การขายโดยพนักงานขาย ( Personal selling ) 3.               การส่งเสริมการขาย ( Sale promotion ) 4.               การประชาสัมพันธ์    ( Public relation ) 5.               การตลาดทางตรง ( Direct marketing ) การโฆษณา ( Advertising )                  เสียค่าใช้จ่ายในการผลิตและซื้อสื่อ เป็นผู้ให้การสนับสนุนรายการต่างๆ ไม่ใช้คน แต่ใช้สื่อในการติดต่อสื่อสาร มีลักษณะดังนี้ 1.               การสื่อสารแบบนำเสนอ 2.               มีผู้อุปถัมภ์ 3.               ใช้สื่อ 4.               สื่อสา

บทที่ 9 สถานที่ การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

รูปภาพ
บทที่ 9 สถานที่ การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ (Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น) ช่องทางการจัดจำหน่าย ( Place/Channel of distribution )              หมายถึง กลุ่มองค์กรที่ช่วยอำนวยความสะดวกการขนย้าย แลกเปลี่ยนสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม ผู้มีส่วนร่วมในช่องทางการจัดจำหน่าย  ผู้มีส่วนร่วมที่เป็นสมาชิก คือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ซื้อและขายรวมทั้งโอนกรรมสิทธิ์สินค้า                                                                     -พ่อค้าคนกลาง (มีกรรมสิทธิ์)                                                                                                                                                -ตัวแทนคนกลาง (ไม่มีกรรมสิทธิ์/นายหน

บทที่ 8 การตั้งราคาและนโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

รูปภาพ
บทที่ 8 การตั้งราคาและนโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ (Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น) ราคา ( Price ) หมายถึง มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่สามารถวัดได้โดยรูปของจำนวนเงินเพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนหรือโอนย้ายกรรมสิทธิ์ในสินค้าและบริการ      ความสำคัญของราคา 1.               เกิดรายได้จาการขาย 2.               เกิดกำไร 3.               ขยายกิจการ 4.               เพิ่มการผลิต/จ้างงานเพิ่ม 5.               ความเป็นอยู่ดีขึ้น วัตถุประสงค์ในการตั้งราคา 1.               เพื่อผลตอบแทนในรูปของกำไร ( Profit oriented objectives ) 2.               เพื่อทำให้เกิดยอดขายเพิ่มมากขึ้น ( sales oriented objectives ) 3.               เพื่อรักษาสถานะให้อยู่คงเดิม ( Profit oriented object

บทที่ 7 ผลิตภัณฑ์ D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

รูปภาพ
บทที่ 7 ผลิตภัณฑ์ ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ (Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น) ความหมายของผลิตภัณฑ์                 ผลิตภัณฑ์ ( Product ) หมายถึง สิ่งใดๆที่นำเสนอเพื่อให้เกิดความสนใจ ความต้องการเป็นเจ้าของ การใช้หรือบริโภค ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการ หรือ ความจำเป็น ประเภทของผลิตภัณฑ์ 1.สินค้าอุปโภคบริโภค  (Consumer Goods)  มี 4 ประเภท ดังนี้ ·         สินค้าสะดวกซื้อ  แบ่งได้  3  ประเภท คือ 1.1  สินค้าซื้อประจำ ( Staple goods)  สินค้าที่ใช้ในชีวิตประจำวันหรือในครอบครัว ซื้อบ่อย แต่ซื้อครั้งละไม่มาก และใช้เงินไม่มากในการซื้อเช่น สบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน         1.2  สินค้ากระตุ้นซื้อ ( Impulse goods)  สินค้าที่ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อโดยฉับพลัน ณ ตอนนั้นหรือได้รับการ กระตุ้นจาก ส่วนประสมทางการตลาดต่างๆโดยเฉพาะ การส