บทที่ 8 การตั้งราคาและนโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 8 การตั้งราคาและนโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา



ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร

ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ
(Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น)
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การตั้งราคาและนโยบายและกลยุทธ์การตั้งราคา


ราคา (Price) หมายถึง มูลค่าของสินค้าหรือบริการที่สามารถวัดได้โดยรูปของจำนวนเงินเพื่อก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนหรือโอนย้ายกรรมสิทธิ์ในสินค้าและบริการ     
ความสำคัญของราคา
1.             เกิดรายได้จาการขาย
2.             เกิดกำไร
3.             ขยายกิจการ
4.             เพิ่มการผลิต/จ้างงานเพิ่ม
5.             ความเป็นอยู่ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ในการตั้งราคา
1.             เพื่อผลตอบแทนในรูปของกำไร (Profit oriented objectives)
2.             เพื่อทำให้เกิดยอดขายเพิ่มมากขึ้น (sales oriented objectives)
3.             เพื่อรักษาสถานะให้อยู่คงเดิม (Profit oriented objectives)
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจด้านราคา
1.             ปัจจัยภายใน (Internal Factors)ได้แก่ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กร ต้นทุน ลักษณะของผลิตภัณฑ์ วงจีชีวิตผลิตภัณฑ์
2.             ปัจจัยภายนอก (External Factors)ได้แก่ วัตถุดิบ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ สภาพเศรษฐกิจ
นโยบายการตั้งราคา 8 ประเภท
1.             การตั้งราคาเดียวและหลายราคา (One price and variable price policies)
2.             การตั้งราคาสูงและราคาต่ำ (Skimming and Penetration price policies)
3.             การตั้งราคาหลักจิตวิทยา  (Psychological price policies)
4.             การตั้งตาระดับราคา  (Price Level policies)
5.             การให้ส่วนลดและส่วนยอมให้  (Discount and Allowances price policies)

6.             การตั้งตามหลัดภูมิศาสตร์  (Geographic price policies)

ความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทที่ 4 การแบ่งส่วนตลาด และการเลือกตลาดเป้าหมาย D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 7 ผลิตภัณฑ์ D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol