บทที่ 9 สถานที่ การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 9 สถานที่ การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า




ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร

ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ
(Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น)



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สถานที่ การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและการกระจายสินค้า


ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place/Channel of distribution)
             หมายถึง กลุ่มองค์กรที่ช่วยอำนวยความสะดวกการขนย้าย แลกเปลี่ยนสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม ผู้มีส่วนร่วมในช่องทางการจัดจำหน่าย  ผู้มีส่วนร่วมที่เป็นสมาชิก คือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ซื้อและขายรวมทั้งโอนกรรมสิทธิ์สินค้า                                                       
             -พ่อค้าคนกลาง (มีกรรมสิทธิ์)                                                                                                                                  
             -ตัวแทนคนกลาง (ไม่มีกรรมสิทธิ์/นายหน้า)                                                                                                                                        
             ผู้มีส่วนร่วมที่ไม่เป็นสมาชิก คือผู้ที่มีหน้าที่อำนวยความสะดวกและสนับสนุน                                                                  
             -ธนาคาร,บริษัทโฆษณา
ประโยชน์ของคนกลาง
1.             ชำนาญเฉพาะด้านและแบ่งงานกันทำ
2.             ขจัดปัญหาความเหลื่อมล้ำ ในด้าน ปริมาณสินค้า สถานที่ เวลา กลุ่มสินค้า
3.             ประสิทธิภาพในการติดต่อ
หน้าที่ของช่องทางการจัดจำหน่าย
1.        หน้าที่ด้านวิจัย
2.        หน้าที่ด้านการส่งเสริมการตลาด
3.        หน้าที่ด้านการติดต่อ
4.        หน้าที่การคัดเลือกและการจัดสรรสินค้า
5.        หน้าที่ด้านการต่อรอง
6.        หน้าที่ด้านการขนส่งและเก็บรักษา
7.        หน้าที่ด้านการเงิน
8.        หน้าที่ด้านการรับภาระความเสี่ยง
โครงสร้างของช่องทางการจัดจำหน่าย
1.             ช่องทางจำหน่ายสินค้าบริโภค
2.             ช่องทางจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม
การออกแบบช่องทางการจัดจำหน่าย
1.             ระบำความจำเป็นที่ต้องออกแบบ
2.             ตั้งวัตถุประสงค์ของช่องทาง
3.             กำหนดงานและหน้าที่ในช่องทาง
4.             การพัฒนาโครงสร้างช่องทางที่อาจเป็นได้
5.             การประเมินและการเลือกช่องทาง
6.             การเลือกช่องทางที่ดีที่สุด
7.             การคัดเลือกสมาชิกช่องทาง
การค้าส่ง (Wholesalingสามารถแบ่งได้ดังนี้
1.             ธุรกิจค้าส่งที่ผู้ผลิตเอง

2.             ธุรกิจค้าส่งที่ผู้ผลิตไม่ได้ทำเอง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทที่ 4 การแบ่งส่วนตลาด และการเลือกตลาดเป้าหมาย D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 7 ผลิตภัณฑ์ D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol