บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด-แนวใหม่ D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด-แนวใหม่





ผู้แปลและสรุป : วรพล  อิทธิคเณศร

ปริญญาเอกหลักสูตรบริหารดุษฎีบัณฑิต (D.B.A.)มหาวิทยาลัยศรีปทุม
รายวิชา BUS 702 ทฤษฎีการจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ชั้นสูงและแนวคิดเชิงปฎิบัติ
(Advanced Theories of Strategic Management Marketing Concepts and   Practices)      (รศ.ดร.วิชิต  อู่อ้น)

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การส่งเสริมการตลาดแนวใหม่ หลักการของ IMC





ส่วน       ประสมการตลาด ประกอบด้วย
1.             การโฆษณา (Advertising)
2.             การขายโดยพนักงานขาย (Personal selling)
3.             การส่งเสริมการขาย (Sale promotion)
4.             การประชาสัมพันธ์  (Public relation)
5.             การตลาดทางตรง (Direct marketing)
การโฆษณา (Advertising)
                เสียค่าใช้จ่ายในการผลิตและซื้อสื่อ เป็นผู้ให้การสนับสนุนรายการต่างๆ ไม่ใช้คน แต่ใช้สื่อในการติดต่อสื่อสาร มีลักษณะดังนี้
1.             การสื่อสารแบบนำเสนอ
2.             มีผู้อุปถัมภ์
3.             ใช้สื่อ
4.             สื่อสารกับคนจำนวนมาก
การขายโดยพนักงานขาย (Personal selling)
1.             การเผชิญหน้าระหว่างบุคคล
2.             การสร้างความสัมพันธ์อันดี
3.             การตอบสนอง
การส่งเสริมการขาย  (Sale promotion)
1.             การกระตุ้นลูกค้าผู้บริโภค
2.             การกระตุ้นลูกค้าคนกลาง
3.             การกระตุ้นพนักงานขาย
การประชาสัมพันธ์  (Public relation)
                เป็นการนำเสนอด้านบวก ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย เป็นกลยุทธ์ระยะยาวและต่อเนื่อง  มีลักษณะดังนี้
1.             เป็นการให้ข่าวสาร
2.             สร้างความเชื่อถือได้สูง
3.             ให้ข้อเท็จจริง
4.             เป็นการแสดงข้อมูล
การตลาดทางตรง  (Direct marketing)
เป็นการสื่อสารเพื่อให้เกิดการตอบสนองในทันทีทันใด ติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน ผ่านสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน และสามารถวัดผลการตอบสนองได้ เช่น ทางโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต จดหมายตรง
ลักษณะเด่นของการตลาดทางตรง
1.             สามารถเลือกเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้
2.             สามารถส่งข้อมูลไปยังกลุ่มเป้าหมายย่อยๆได้
3.             สามารถเพิ่มหรือลดได้ตามความเหมาะสม
4.             สามารถปรับเปลี่ยน
5.             ประหยัดเวลา
6.             มีลักษณะเป็นส่วนบุคคล
7.             ต้นทุนของกิจกรรม
8.             สามารถวัดผลได้
การส่งเสริมการขาย  (Sale promotion)
                คือ กิจกรรมการสื่อสารการตลาดที่มุ่งกระตุ้นพฤติกรรมผู้บริโภคให้ซื้อสินค้า โดยมีข้อเสนอพิเศษ หรือผลประโยชน์พิเศษให้แก่ผู้บริโภค ร้านค้า และพนักงานขาย
กลยุทธ์และขั้นตอน
1.             กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
2.             กำหนดวัตถุประสงค์ของการส่งเสริมการขาย
3.             กำหนดงบประมาณ
4.             กำหนดกลยุทธ์การส่งเสริมการขาย
5.             เลือกวิธีการส่งเสริมการขาย
การใช้พนักงานขาย (Personal selling)
                คือ การสื่อสารการตลาดที่เน้นการสื่อสารระหว่างบุคคล โดยมีพนักงานขายเป็นผู้แนะนำ ช่วยเหลือ และโน้มน้าวให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายได้ซื้อและทดลองใช้สินค้า
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
                คือ กลยุทธ์การประสานความพยายามทางการตลาดขององค์กรในการติดต่อสื่อสารโดยใช้เครื่องมือให้เหมาะสมสอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อให้ข่าวสารสร้างภาพพจน์และจูงใจลูกค้าเป้าหมาย
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ
IMC   คือ กลยุทธ์การประสานความพยายามทางการตลาดของ องค์กรในการติดต่อสื่อสารโดยใช้เครื่องมือให้เหมาะสม สอดคล้องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อให้ข่าวสาร สร้างภาพพจน์ และจูงใจลูกค้าเป้าหมาย
หลักการของ IMC
1.เริ่มต้นที่ลูกค้า
 2.ใช้การติดต่อสื่อสารหลายรูปแบบ
 3.ติดต่อสื่อสารทั้งที่ใช้สื่อและไม่ใช้สื่อ
 4.สร้างการสื่อสารแบบสองทางกับลูกค้า
5.ใช้IMCให้สอดคล้องกับ4P.(Product Price, Place, Promotion )
หัวใจของ IMC
1. กำหนดลูกค้าเป้าหมายโดยพฤติกรรม
 2. วิธีการสื่อสาร (ต้นทุน ภาพพจน์ ผลกระทบ)
 3. เน้นเปลี่ยนโครงสร้างความคิด
4. เป็นการวางแผนวงกลม
IMC กับการโน้มน้าวใจลูกค้า
เทคนิคการโน้มน้าวใจลูกค้า
1.ต่างตอบแทน
2.การรักษาคำพูด
 3.การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
 4.ความคล้ายคลึงกัน
 5.ความเคารพผู้ใหญ่
6.ความขาดแคลน

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทที่ 4 การแบ่งส่วนตลาด และการเลือกตลาดเป้าหมาย D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภค D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol

บทที่ 7 ผลิตภัณฑ์ D.B.A. 10 Chef Thomas Vorapol